Open Hour : Mon-Fri 09.00-17.00

Knowledges

53 รายการ
"สัปดาห์แห่งการตระหนักรู้เรื่องแผ่นดินไหว (Earthquake Awareness Week) ภายใต้แนวคิด 'Drop, cover, hold: Earthquake readiness is within our control' เน้นย้ำความสำคัญของการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ
7 ผู้เข้าชม
ลงทุนเสี่ยง? มองหาธุรกิจ "ยืนหยัด" ทุกสถานการณ์ โดยเฉพาะภัยแผ่นดินไหว ความพร้อม BCM = ลดความเสียหาย เพิ่มโอกาส นักลงทุนมั่นใจ...พร้อมเติบโตไปด้วยกัน
7 ผู้เข้าชม
ภัยพิบัติอย่างแผ่นดินไหวเกิดขึ้นโดยที่เราไม่ทันตั้งตัว การมีแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCM) ที่ครอบคลุม จึงเปรียบเสมือน "แผนที่นำทาง" ที่จะช่วยให้ธุรกิจของคุณสามารถฝ่าวิกฤตและกลับมาดำเนินงานได้อีกครั้ง
3 ผู้เข้าชม
เมื่อพูดถึงการเตรียมความพร้อมด้านบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCM) สำหรับภัยแผ่นดินไหว มีองค์ประกอบสำคัญ 5 ประการที่ทุกองค์กรควรให้ความสำคัญและบรรจุไว้ในแผน BCM
17 ผู้เข้าชม
แผ่นดินไหว: ภัยคุกคามที่ธุรกิจต้องจับตา! แรงสั่นสะเทือน...ผลกระทบที่คาดไม่ถึง BCM ที่ใช่ ช่วยธุรกิจรับมือ ลดความเสี่ยง สร้างความเชื่อมั่นให้กลับมา
15 ผู้เข้าชม
Startup โตไว ต้องไม่ลืม BCM! เตรียมพร้อมธุรกิจต่อเนื่องตั้งแต่เนิ่นๆ สร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง เริ่มง่ายๆ ด้วยทรัพยากรที่มี อย่ารอให้เกิดปัญหา!
12 ผู้เข้าชม
BCM ไม่ใช่แค่ IT! แผนธุรกิจต่อเนื่องต้องครอบคลุมทุกฝ่ายในองค์กร สร้างความร่วมมือ เตรียมพร้อมทุกแผนก ธุรกิจจึงแกร่ง ยั่งยืน
18 ผู้เข้าชม
สงสัยไหม.... ทำไมต้องทำ BIA ด้วยนะ ? แล้ว BIA มีประโยชน์อย่างไรบ้างล่ะ ? วันนี้ทาง BCM Thai GURU สรุปมาให้ทุกท่านได้อ่านกันดังนี้ 👇🏼
585 ผู้เข้าชม
COSO คืออะไร ? แล้วปัจจุบันเป็นเวอร์ชันไหน ?
7264 ผู้เข้าชม
ความคล้ายและแตกต่างของ ISO 31000 กับ COSO
997 ผู้เข้าชม
หนึ่งในความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง ERM และ BCM คือ วัตถุประสงค์ของระบบ
877 ผู้เข้าชม
ความเสี่ยงทางธุรกิจหมายถึงภัยคุกคามต่อความสามารถของบริษัทในการบรรลุเป้าหมายทางการเงิน ในด้านธุรกิจ ความเสี่ยงหมายความว่าแผนของบริษัทหรือองค์กรอาจไม่เป็นไปตามแผนเดิม หรืออาจไม่เป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่บรรลุเป้าหมาย
46712 ผู้เข้าชม
ในการลดผลกระทบหรือความเสี่ยงต่อเงินทุน กำไร รายได้ ชื่อเสียง และมูลค่าผู้ถือหุ้นองค์กรจะต้องมีการจัดทำการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร (ERM) ให้มีความครอบคลุมในทุกด้าน ERM ที่ประสบความสำเร็จ ไม่เพียงแต่จะช่วยในเรื่องของการทำงานของบุคลากรและโครงสร้างของบริษัทเท่านั้น แต่ยังช่วยสร้างเกณฑ์มาตรฐานสำหรับความเสี่ยงและผลตอบแทน รวมถึงช่วยในการมองเห็นความเสี่ยงในแต่ละกิจกรรมการดำเนินงานอีกด้วย
3160 ผู้เข้าชม
ในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ที่เกิดจากเหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น วิกฤตการณ์ทางการเงินทั่วโลก ซึ่งอดีตเคยมุ่งเน้นเพียงการจัดการความเสี่ยงด้านยุทธวิธีเท่านั้น แต่การบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร จะเป็นกรอบงานสำหรับธุรกิจ ในการประเมินความเสี่ยงโดยรวม ทั้งภัยคุกคามและโอกาสการเกิด ดังนั้น การตัดสินใจที่ทันท่วงทีและมีความครบถ้วนจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น
469 ผู้เข้าชม
ความเข้าใจองค์กรเป็นขั้นตอนแรกในการจัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ พิจารณาระบุและศึกษาความสำคัญของกระบวนการ กิจกรรม และ/หรือผลิตภัณฑ์ ที่หน่วยงานกำลัง ดำเนินการอยู่ อันเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ กำหนดไว้ของหน่วยงาน การเชื่อมโยงและความสัมพันธ์กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร รวมทั้ง ทำให้ทราบและตระหนักถึงความเสี่ยงและภัยคุกคามที่อาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานและการ ให้บริการของหน่วยงาน ซึ่งจะช่วยให้องค์กรลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นได้ ดังนี้
1983 ผู้เข้าชม
6 องค์ประกอบหลักของวงจรการบริหารความต่อเนื่อง (BCM Life Cycle) ซึ่งหน่วยงานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ตามขอบเขตวิธีการบริหารจัดการ และทรัพยากรที่ต้องใช้ ใน BCM ของแต่ละองค์กรที่แตกต่างกันไปตามขนาด ภารกิจ และทรัพยากรที่ใช้งาน ดังนี้
1108 ผู้เข้าชม
6 องค์ประกอบหลักของวงจรการบริหารความต่อเนื่อง (BCM Life Cycle) ซึ่งหน่วยงานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ตามขอบเขตวิธีการบริหารจัดการ และทรัพยากรที่ต้องใช้ ใน BCM ของแต่ละองค์กรที่แตกต่างกันไปตามขนาด ภารกิจ และทรัพยากรที่ใช้งาน ดังนี้
5187 ผู้เข้าชม
6 องค์ประกอบหลักของวงจรการบริหารความต่อเนื่อง (BCM Life Cycle) ซึ่งหน่วยงานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ตามขอบเขตวิธีการบริหารจัดการ และทรัพยากรที่ต้องใช้ ใน BCM ของแต่ละองค์กรที่แตกต่างกันไปตามขนาด ภารกิจ และทรัพยากรที่ใช้งาน ดังนี้
1211 ผู้เข้าชม
6 องค์ประกอบหลักของวงจรการบริหารความต่อเนื่อง (BCM Life Cycle) ซึ่งหน่วยงานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ตามขอบเขตวิธีการบริหารจัดการ และทรัพยากรที่ต้องใช้ ใน BCM ของแต่ละองค์กรที่แตกต่างกันไปตามขนาด ภารกิจ และทรัพยากรที่ใช้งาน ดังนี้
1527 ผู้เข้าชม
6 องค์ประกอบหลักของวงจรการบริหารความต่อเนื่อง (BCM Life Cycle) ซึ่งหน่วยงานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ตามขอบเขตวิธีการบริหารจัดการ และทรัพยากรที่ต้องใช้ ใน BCM ของแต่ละองค์กรที่แตกต่างกันไปตามขนาด ภารกิจ และทรัพยากรที่ใช้งาน ดังนี้
1906 ผู้เข้าชม
6 องค์ประกอบหลักของวงจรการบริหารความต่อเนื่อง (BCM Life Cycle) ซึ่งหน่วยงานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ตามขอบเขตวิธีการบริหารจัดการ และทรัพยากรที่ต้องใช้ ใน BCM ของแต่ละองค์กรที่แตกต่างกันไปตามขนาด ภารกิจ และทรัพยากรที่ใช้งาน ดังนี้
1475 ผู้เข้าชม
สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการการดำเนินงานขององค์กรให้มีความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สำคัญจึงเป็นสิ่งจำเป็น และต้องระบุไว้ในแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการเตรียมการทรัพยากรที่สำคัญ จะพิจารณาจากผลกระทบใน 5 ด้าน ดังนี้
1709 ผู้เข้าชม
แม้ว่าจะไม่ได้มีความหมายเหมือนกัน แต่กิจการส่วนใหญ่จะทำ แผน BCP : Business Continuity Plan พร้อมกับแผน DRP เพราะทั้งสองแผนเกี่ยวข้องกับภาวะที่กิจการสะดุดหยุดลงจากการเกิดเหตุการณ์พิเศษ ความผิดปกติ ที่คาดหมายล่วงหน้าไม่ได้เหมือน ๆ กัน
1439 ผู้เข้าชม
คำว่า BCP และ DRP เป็นกระบวนการที่มีความแตกต่างกัน แต่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างมากจนต้องกล่าวถึงพร้อมกันและจัดทำแผนร่วมกันเสมอ
22304 ผู้เข้าชม
8195 ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์